รายงานยอดขายรายวัน-โปรแกรมร้านค้าปลีก ค้าส่ง jPOS
ส่วนนี้เป็นรายงานยอดขายรายวันทั้งหมด สามารถเลือก ช่วงวันที่, สาขา, พนักงาน, คีย์ค้นหาจากเลขที่บิล, `ได้เลย
ส่วนนี้เป็นรายงานยอดขายรายวันทั้งหมด สามารถเลือก ช่วงวันที่, สาขา, พนักงาน, คีย์ค้นหาจากเลขที่บิล, `ได้เลย
ส่วนของการยืม – คืนอุปกรณ์ไปใช้งาน สะดวกกับกิจการที่มีการยืมอุปกรณ์ไปใช้งานง่ายต่อกับติดตามอุปกรณ์**ข้อมูลที่ต้องจำเป็นต้องใส่1.เลขที่ใบยืม (ผู้ใช้งานต้องกำหนดเอง)
ส่วนนี้เป็นการเคลมสินค้า เช่น ร้านซื้อสินค้ามาจากโรงงาน และทางร้านจะส่งเคลมสินค้ากับโรงงาน เป็นต้น ———————————————————————— ส่วนนี้เป็นการเลือกสินค้าที่จะส่งเคลม เลือกสาขา, พนักงาน, ซื้อมาจาก, วันที่กำหนดวันรับคืน ใส่จำนวน เลือกสินค้า แล้วกดปุ่ม “บันทึก“
ส่วนนี้เป็นสำหรับที่ผู้ใช้งานต้องการสร้างสินค้าขายเป็น ชุด Set ได้ง่ายๆ ขั้นตอนที่ 1 : กรอก Barcode PS ,ชื่อโปรโมชั่น ,ราคา ขั้นตอนที่ 2 : เลือกค้นหาสินค้าที่ต้องการจัดชุด ใส่จำนวนสินค้า เรียบร้อยแล้วกดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” ที่ละรายการ ขั้นตอนที่ 3: เมื่อเลือกสินค้าครบ เรียบร้อยแล้วกดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” จบการเพิ่มชุด set ตัวอย่าง…ส่วนนี้วิธีการขาย ชุด set ที่เราสร้างไว้
ส่วนนี้เป็นรายการยอดขายสินค้าแต่ละประเภท สามารถค้น จากวันที่, สาขา, ประเภทสินค้า แล้วกดปุ่ม
DashBoard ตัวอย่างรูปแบบบิลต่างๆ ตัวอย่างปริ้นบาร์โค้ด (ฺBarcode) ต่างๆ บทที่ 1: เมนูตั้งค่าพื้นฐาน ✅การตั้งค่าข้อมูลร้านค้า ✅การตั้งค่าคลังสินค้า/สาขา ✅การตั้งค่าช่องทางจำหน่าย ✅การตั้งค่าช่องทางชำระเงิน 💠การเพิ่มข้อมูลสินค้า ✅การเพิ่มประเภทสินค้า ✅การเพิ่มสินค้า ทีละรายการ ✅การเพิ่มสินค้า แบบ excel ————————–🔴 การตั้งค่าสินค้าเชื่อมโยง (เช่น ลัง แพ็ค ชิ้น) ————————–🔴 การตั้งค่าเรทราคาสินค้า (เช่น 1-12 ชิ้น คิดชิ้นละ 10 บาท) ✅การกำหนดราคาจำหน่ายในสมาชิก ✅การกำหนดผู้จำหน่ายสินค้า 💠การเพิ่มสมาชิกของร้าน ————————-🔴การกำหนดประเภทสมาชิก ————————-🔴การกำหนดสมาชิกร้าน/ลูกค้า ✅การกำหนดคะแนนสมาชิก/ลูกค้า ✅การกำหนดผู้ใช้งานระบบ (User) ✅เงินในลิ้นชักวันนี้ ✅การทำป้ายราคาสินค้า ✅การกำหนดเงื่อนไขการขายสินค้า บทที่ 2 : เมนูสต๊อกสินค้า ✅การสร้างใบสั่งชื้อ (PO) 💠การรับสินค้าเข้าสต้อก ————————-🔴การรับเข้าสินค้าสต๊อกแบบง่ายๆ ————————-🔴การรับสินค้าเข้าสต๊อกแบบ Excel ————————-🔴การรับสินค้าเข้าสต๊อกแบบมีใบ […]
ส่วนนี้เป็นการจัดการเงินในลิ้นชักเก็บเงิน ระบบสามารถเพิ่ม, ลบ, แก้ไข เงินเข้าในลิ้นชัก และนำเงินออกจากลิ้นชักเก็บเงิน ได้แบบง่ายๆ 💠เงินในลิ้นชัก : กดปุ่ม “เพิ่มรายการ” ใส่จำนวนเงิน -> กดบันทึก 💠เงินนำไปฝาก : กดปุ่ม “เพิ่มรายการ” เลือกวันที่, ใส่จำนวนเงิน -> กดบันทึก
ส่วนนี้เป็นการจัดการข้อมูล ทรัพย์สินของบริษัท การเพิ่มทรัพย์สิน :กดปุ่ม “เพิ่มทรัพย์สิน” กรอกข้อมูล แล้ว กดปุ่ม “คิดว่าเสื่อม” ระบบจะคำนวน ค่าเสื่อมต่อวันให้ หลังจากนั้นกด “บันทึกข้อมูล” ตัวอย่าง…รายงานทรัพย์ของบริษัท ส่วนนี้เป็นเมนู บันทึกค่าเสื่อมราคา และลบ รายการทรัพย์สินของบริษัท ตัวอย่าง…เพิ่มชำระสินทรัพย์ เลือกชำระวันที่ – ถึงวันที่ -> กดปุ่ม “คิดค่าเสื่อม” ระบบจะคำนวนวัน และค่าเสื่อม จากนั้นกดปุ่ม “บันทึกข้อมูล“
ส่วนนี้เป็นการจัดการงานผลิตสินค้า ✅ขั้นตอนที่ 1: เมนูการจัดการวัสดุ กดปุ่มเพิ่มรายการวัสดุ กรอกข้อมูลให้ครบทุกช่อง -> บันทึก-สามารถ แก้ไข และลบ ได้ (** ในกรณีมีการสั่งผลิตสินค้าแล้ว ไม่ควรลบวัสดุ) ✅ขั้นตอนที่ 2: เมนูจัดการผลิตภัณฑ์ ส่วนนี้เป็นการจัดการเพิ่มข้อมูลผลิตภัณฑ์ เริ่มจากกดปุ่มเพิ่มผลิตภัณฑ์ กรอกข้อมูลให้ครบทุกช่อง -> บันทึก กดปุ่ม เพื่อเพิ่มวัสดุที่ใช้ผลิต ผลิตภัณฑ์ กดปุ่มค้นหาวัสดุ ระบบจะแสดงรายงานวัสดุ ให้ผู้ใช้งานกดเลือกวัสดุที่ต้องการ แลัวกดบันทึกทีละรายการ ตัวอย่าง… ที่เลือกและบันทึกวัสดุแล้ว ✅ขั้นตอนที่ : 3 เมนูรับเข้าวัสดุ ส่วนนี้เป็นการรับจำนวนวัสดุเข้าในสต๊อก ส่วนนี้เพื่อรับเข้าวัสดุ กดปุ่ม “รับเข้าวัสดุ” ใส่ข้อมูลให้ครบแล้ว กดปุ่ม “บันทึก“ ส่วนนี้หลังจากที่กดบันทึกในส่วนของบิลนำเข้าแล้ว ต่อไป กดค้นหาวัสดุและเลือกวัสดุที่ต้องการ ใส่ข้อมูลให้ครบทุกช่อง แล้วกดปุ่ม “บันทึก” หลังจาก กดบันทึกรายการวัสดุแล้ว ให้ผู้ใช้งาน กดปุ่ม “แสดงรายการ” เพื่อให้ระบบแสดงบิลนำเข้าวัสดุล่าสุด ตัวอย่าง…รายงานบิลรับเข้าวัสดุ […]
ส่วนนี้เป็นการ จัดการของรางวัล ประวัติการใช้แต้ม แบบง่ายๆ ขั้นตอนที่ 1: จัดการของรางวัล สร้างของรางวัลก่อน กดไปที่ปุ่ม ขั้นตอนที่ 1.1 : กดปุ่ม เพิ่มรายการแลก เลือกค้นหาสินค้า -> กรอกข้อมูลให้ครบทุกช่องแล้ว กดปุ่ม *แก้ไข : แก้ไขแล้วกด บันทึกข้อมูล *ลบ : กด Ok เพื่อยืนยันลบ / ยกเลิก เพื่อยืนยันไม่ลบ ขั้นตอนที่: 2 ใช้แต้มสะสม กดปุ่มใช้แต้มสะสม ที่รายชื่อสมาชิก และระบบสามารถ ค้นหาจาก รหัส, ชื่อ ของสมาชิก ได้เลย วิธีใช้แต้ม: ใส่จำนวนของรางวัลที่ต้องการแลก กดปุ่มใช้แต้ม
ส่วนนี้เป็นการบันทึกค่าใช้จ่าย ภายในร้าน เช่น ค่าน้ำมันรถ, ค่าส่งเอกสาร, ค่าอุปกรณ์ใช้ภายในสำนักงาน, ค่าไฟฟ้า, ค่าน้ำ เป็นต้น **ไม่ใช่สินค้าที่ซื้อเพื่อนำมาขายในร้าน สามารถค้นหาตาม ช่วงจากวันที่ – ถึงวันที่, ประเภทรายจ่าย, เลขบิล สามารถออกบิลได้ ดังนี้ ใบสำคัญจ่าย(แบบมีภาษี หัก ณ.จ่าย), ใบสำคัญจ่าย(ไม่มีภาษี), ใบ หัก ณ.ที่จ่าย ค้นหา : ใส่ข้อมูลตามที่ต้องการแล้ว -> กดปุ่มแสดงข้อมูล ขั้นตอนที่ 1 กดปุ่มเพิ่มรายการ -> ใส่ข้อมูลในช่อง ที่มีในฟอร์มให้ครบ -> กดปุ่มบันทึกข้อมูล (กรณีช่องไหนที่มี สัญลักษณ์ ** และผู้ใช้งานไม่มีข้อมูลให้ใส่ ( – ) แทน) ส่วนนี้เป็นการจัดการข้อมูลบันทึกค่าใช้จ่าย กดปุ่ม **แก้ไขรายการ : แก้ไขข้อมูลในช่องข้อมูลตามที่ต้องการ -> กดปุ่ม **ใบสำคัญจ่าย(แบบมีภาษี) : ตัวอย่าง […]
ส่วนนี้เป็นการเพิ่มประเภทค่าใช้จ่าย ก่อนเพิ่มให้ส่วนของ บันทึกค่าใช้จ่าย ได้แบบง่ายๆ ขั้นตอนที่ 1 กดปุ่มเพิ่มรายการ -> เลือก หมวดบัญชี -> กดปุ่มบันทึกข้อมูล **แก้ไข ส่วนนี้ถ้าผู้ใช้งานต้องการแก้ไขชื่อประเภทค่าใช้จ่าย สามารถกดปุ่มแก้ไข -> กดปุ่มบันทึกข้อมูล **ลบ ถ้าผู้ใช้งานต้องการลบ ให้กดปุ่มลบ
ส่วนนี้ สามารถ กำหนดขนาดตัวอักษร ได้ตามหัวข้อบิล Slip บิลขาย, ใบส่งสินค้า, ใบวางบิล, ใบกำกับภาษี, ใบเสร็จรับเงิน ได้ สามารถ เลือกแสดงหรือไม่แสดง แสดงวันที่, แสดง vat, แสดงชนิด vat ได้
ส่วนนี้เป็นรูปแบบการรันเลขเอกสารบบิลขาย แบบง่ายๆ
ส่วนนี้ถ้าต้องการพิมพ์ใบปะหน้า ติดพัสดุส่งสินค้า ให้กดที่เลข รหัสบิลที่ต้องการพิมพ์ได้ เพื่อความง่ายให้ผู้ใช้งานไม่ต้องเขียนใบส่งสินค้าให้ยุ่งยาก เข้าเมนู บัญชี -> จัดขายบิล -> กดที่เลข รหัสบิล ตัวอย่าง…ใบปะหน้า ติดส่งสินค้า ขนาด 100 x 150 mm.
ส่วนนี้ถ้าต้องการพิมพ์ บิลต่างๆ ให้กดที่เลข รหัสบิลที่ต้องการพิมพ์ย้อนหลังได้ เข้าเมนู บัญชี -> จัดขายบิล -> กดที่เลข รหัสบิล ตัวอย่าง…ใบกำกับภาษีอย่างย่อ(ใบเล็ก) ตัวอย่าง…ใบกำกับภาษี(A4) ตัวอย่าง…ใบกำกับภาษี(A5) ตัวอย่าง…ใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษี/ใบส่งของ(A4)
ส่วนนี้ถ้าต้องการพิมพ์ บิลต่างๆ ให้กดที่เลข รหัสบิลที่ต้องการพิมพ์ย้อนหลังได้ เข้าเมนู บัญชี -> จัดขายบิล -> กดที่เลข รหัสบิล ตัวอย่าง…ใบส่งสินค้า (A4) ตัวอย่าง…ใบส่งสินค้า (A5) ตัวอย่าง…ใบส่งสินค้า (9×5.5) ตัวอย่าง…ใบส่งสินค้า (9×11)
ส่วนนี้ถ้าต้องการพิมพ์ บิลต่างๆ ให้กดที่เลข รหัสบิลที่ต้องการพิมพ์ย้อนหลังได้ เข้าเมนู บัญชี -> จัดขายบิล -> กดที่เลข รหัสบิล ตัวอย่าง..ใบเสร็จอย่างย่อ(Slip) ตัวอย่าง…ใบเสร็จรับเงิน(A4 -แนวตั้ง)*ตั้งค่า ตัวอย่าง…ใบเสร็จรับเงิน(A5) ตัวอย่าง…ใบเสร็จรับเงิน(9″x5.5″) ตัวอย่าง…ใบเสร็จรับเงิน(9″x11″) ตัวอย่าง…ใบเสร็จ 80 มม.(แบบ A) ตัวอย่าง…ใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษี/ใบส่งของ (A4)
💠ส่วนนี้สามารถ แก้ไข วันที่, เลขที่บิลขาย, ชื่อลูกค้า, ได้ และสามารถยกเลิกบิลขาย ได้เท่านั้น (**ไม่สามารถลบออกเลยได้**) ☢ VDO วิธีการแก้ไขข้อมูล เลขที่บิล, วันที่ชำระ, วันที่ทำรายการ, ชื่อที่อยู่ ลูกค้า ☢ VDO วิธีการยกเลิกบิลขาย 💠ปุ่มแก้ไข เมื่อแก้ไขข้อมูลแล้ว ให้กดปุ่ม ” บันทึก” 💠ปุ่มยกเลิกบิลขาย
ส่วนนี้เป็นรายงานจากการจัดการ ข้อมูลรายละเอียด เงินลงทุนในห้างร้าน/บริษัท
ส่วนนี้เป็นรายงาน ผังบัญชี แบบเข้าใจง่าย ในด้านบัญชี
ส่วนนี้ เป็นการบันทึกเงินลงทุนในห้างร้าน/บริษัท แบบสะดวกและง่ายๆ สามารถเพิ่ม, ลบ รายการได้ สามารถตรวจรายงานได้ที่เมนู สมุดบัญชีรายวันทั่วไป https://www.pingpongsoft.com/index.php/2021/04/28/1220/
ส่วนนี้สามารถจัด Promotion สินค้าแถม เช่น ซื้อ 5 แถม 1 แบบง่ายๆ ขั้นตอนที่ 1 เลือกสินค้าและ ใส่จำนวนสินค้า เสร็จแล้วกดปุ่ม “บันทึกข้อมูล”
ส่วนนี้เป็นการโอนสินค้าจากสาขาหนึ่ง ไปยังสาขาปลายทาง โดนไม่ต้องกดรับสินค้าจากสาขาผู้แลสาขา สะดวกและเข้าใจง่าย ขั้นตอนที่ 1 เลือกสาขา โอนออกจากสาขา -> โอนเข้าที่สาขา (**กรณีมีหมายเหตุก็สามารถใส่เพิ่มเติมได้) ขั้นตอนที่ 2 ใส่จำนวนสินค้า, ใส่รหัสสินค้า/ serial /กดปุ่มค้นหาสินค้า, เลือกสินค้าแล้ว กดปุ่ม ” เพิ่มสินค้า” สามารถเพิ่มได้ทีละรายการที่ต้องการโอน ขั้นตอนที่ 3 กดปุ่ม “ยืนยันการโอนสินค้า” ส่วนนี้ถ้าต้องการเช็ครายงานการโอนสินค้าที่ ปุ่ม “รายงานการโอนสินค้า”
ส่วนนี้สามารถสร้าง คูปองส่วนลด แบบง่ายๆ ขั้นตอนที่ 1 กดปุ่ม “เพิ่มคูปองส่วนลด” ขั้นตอนที่ 2 กดปุ่ม “พิมพ์ Barcode”
ส่วนนี้เป็นการกำหนดคะแนนสะสมสมาชิก เช่น กำหนด 100 บาท จะได้คะแนน 1 แต้ม ลูกค้าของร้าน ซื้อ 1000 บาท จะได้คะแนน 10 แต้ม / ซื้อ 1,280 บาท จะได้คะแนน 12 แต้ม
ส่วนนี้สามารถจัด Promotion เช่น 3 ชิ้น 100 บาท ได้ และสามารถคละสินค้าได้ให้เลือกกลุ่มเดียวกัน (**หมายเหตุ สินค้าสามารถเข้าร่วม Promotion ได้ 1 กลุ่มสินค้าเท่านั้น**) 🔴ขั้นตอนที่ 1 กดปุ่ม “จัดการกลุ่มสินค้า” 🔴ขั้นตอนที่ 2 กดปุ่ม “เพิ่มสินค้าเหมา”
ส่วนนี้เป็นรายงานยอดรวมทั้งหมด ช่องทางชำระเงิน เช่น โอน เงินสด บัตรเคดิต ฯลฯ
ส่วนนี้เป็นรายงาน ยอดขายทั้งหมด ตามช่องทางจำหน่าย ของร้านค้าแบบเข้าใจง่าย
ส่วนนี้เป็นรายงานความเคลื่อนไหวของสินค้า รับเข้า, ขายออก, โอนออก สามารถเช็คได้แบบง่ายๆ
© โปรแกรมร้านค้า ราคาเพียง 3,000 บาท 2024. Powered by WordPress